ลงชื่อเข้าสู่ระบบ
ค้นหาจาก google ค้นหาจากเว็บไซต์

1.ข้อมูลปริมาณการจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดทั้งปีและข้อมูลจุดสำรวจ 2.ตารางค่า Factor (PCU_Factor) ของกรมทางหลวง 3.เกณฑ์ระดับการให้บริการบนช่วงถนน 4.ผลการคำนวณปริมาณจราจรต่อความจุของถนน 5.การสำรวจความเร็วเฉลี่ยของยานพาหนะ 6.การสำรวจจำนวนคนเดินทางในยานพาหนะแต่ละประเภท 7.การสำรวจปริมาณจราจรความล่าช้าความยาวแถวคอยสัญญาณไฟแล้วจราจรที่ทางแยก 8.สภาพกายภาพของโครงข่ายคมนาคมขนส่ง 9.ข้อมูลระบบขนส่งสาธารณะ 10.ปริมาณการเดินทางและขนส่งสินค้าในปัจจุบัน 11.ปริมาณการเดินทางและขนส่งสินค้าในอนาคต 12.ปริมาณรถจดทะเบียน 13.สถิติการเดินทางและขนส่งสินค้าทางอากาข้ามแดน 14.เส้นทางเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว 15.อุบัติเหตุจราจรทางบก

ปริมาณการเดินทางและขนส่งสินค้า

ได้ทำการวิเคราะห์ปริมาณการเดินทางและขนส่งสินค้าของประเทศไทย ที่ส่วนใหญ่จะเป็นการเดินทางเข้า-ออก ระหว่างพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล แสดงดังรูปที่ 8.2.3-1 และปริมาณการเดินทางบนโครงข่ายสายหลักแสดงดังรูป



จากผลการศึกษาการเดินทางของคนและปริมาณสินค้าในจังหวัดบึงกาฬ ณ ปี ฐาน พ.ศ. 2560 สามารถสรุปได้ว่าอำเภอเมืองบึงกาฬเป็นศูนย์กลางของการเดินทางและขนส่งสินค้าของจังหวัด ส่วนการเดินทางของคนและสินค้านอกพื้นศึกษา พบว่า คู่การเดินทางที่มีปริมาณสูงสุด คือ ระหว่างอำเภอเมืองบึงกาฬกับพื้นที่อื่นๆ ซึ่งเป็นการเดินทางของคนประมาณ 22,000 pcuต่อวัน และการขนส่งสินค้าประมาณ 5,600 pcuต่อวัน










ผลการปรับเทียบแบบจำลองกับปริมาณจราจรในพื้นที่ศึกษา

แนวตรวจสอบปริมาณจราจร

ปริมาณการเดินทางของคน
 (PCU/วัน)

ปริมาณการเดินทางของสินค้า
 (PCU/วัน)

รวมปริมาณการเดินทางของคน
และสินค้า (PCU/วัน)

ปริมาณ
จราจร
(AADT)

ปริมาณ
จราจร
แบบจำลอง

ผลต่าง
(ร้อยละ)

ปริมาณ
จราจร
(AADT)

ปริมาณ
จราจร
แบบจำลอง

ผลต่าง
(ร้อยละ)

ปริมาณ
จราจร
(AADT)

ปริมาณ
จราจร
แบบจำลอง

ผลต่าง
 (ร้อยละ)

S1

11,874

11,900

-0.2%

3,674

3,600

2.0%

15,548

15,500

0.3%

S2

13,800

13,709

0.7%

5,040

5,052

-0.2%

18,840

18,761

0.4%

S3

21,830

21,700

0.6%

8,022

8,100

-1.0%

29,851

29,800

0.2%

S4

35,771

35,800

-0.1%

17,917

17,900

0.1%

53,688

53,700

-0.1%